กราฟแท่งเทียนรูปแบบเมฆดำปกคลุม (Dark Cloud Cover)
รูป แบบนี้ดูเหมือนจะคล้ายๆ รูปแบบ "กลื่นกิน" อยู่เหมือนกัน ประมาณว่า กร๊าฟขึ้นอยู่ดีๆ แล้วก็มาเจอแท่งเทียนที่ 2 (เป็นแท่งสีแดง) และจุดเปิดของแท่งสีแดง ดันสูงกว่าจุดปิดของแท่งสีเขียว (หากว่าสูงกว่าใส้เทียนสูงสุดของแท่งสีแดง จะเป็นการยืนยันสัญญาณที่ชัดเจน)
ที่สำคัญ จุดปิดของแท่งสีแดง ต้องต่ำกว่า 50 เปอร์เซ็นส์ ของแท่งสีเขียว
ส่วน รูปแบบกลับกันเรียกว่า รูปแบบ "ทิ่มแทง" Piercing คือประมาณว่า ราคาลงอยู่ดีๆ อยู่ๆ ก็เจอแท่งสีแดงแท่งแรก แล้วมีแทงสีเขียวตามมา แบบนี้มีข้อแม้ว่า
1.ราคาปิดแท่งแดง ต้องสูงกว่า ราคา เปิดแท่งเขียว
2.ราคาปิดแท่งเขียว ต้องเกิน 50 เปอร์เซนส์ของตัวของแท่งเทียนสีแดง ยิ่งเกินเยอะสัญญาณยิ่งชัด
มาดูตัวอย่างของกร๊าฟ SET มีทั้ง 2แบบ
รูป แบบต่อไป เป็นรูปแบบที่ต่อเนื่องกับ เมฆดำปกคลุม และ ทิ่มแทง แต่ต่างกันที่ แท่งสีเขียว ไม่สามารถผ่าทะลุ 50 เปอร์เซ็นของตัวแท่งสีแดงไปได้ นั้น หมายความว่า แนวโน้ม ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง (ยังไม่ใช่รูปแบบ การกลับตัว)
มีรูปแบบเช่น
1. On neck
2. In neck
3. Thrusing Pattern
รูปข้างล่างนี้แสดงให้เห็นว่า แท่งสีเขียว ไม่สามารถทะลุ 50 เปอร์เซ็นส์ของแท่งสีแดงไปได้ จึงไม่ใช่จุดกลับตัว
วิธีการอ่านกราฟแท่งเทียน
- วิธีการอ่านกราฟแท่งเทียน เพื่อหาจุดตัดของราคา
- กราฟแท่งเทียนรูปแบบค้อน (Hammer) กับคนแขวนคอ (Hanging Man)
- กราฟแท่งเทียนรูปแบบกลืนกิน หรือ Engulfing Pattern
- กราฟแท่งเทียนรูปแบบเมฆดำปกคลุม (Dark Cloud Cover)
- กราฟแท่งเทียนรูปแบบดาวตก (shooting star)
- กราฟแท่งเทียนรูปแบบคนมีท้อง หรือ Harami Pattern
- กราฟแท่งเทียนรูปแบบฮารามิกากบาท หรือ Harami Cross
- กราฟแท่งเทียนรูปแบบ Tweezer Top กับ Tweezer Bottorn
- กราฟแท่งเทียนรูปแบบเข็มขัดกระทิง หรือ Bullish Belt Hold
- กราฟแท่งเทียนรูปแบบอีกา 2 ตัวบนช่องว่าง (Upside Gap Two Crows)
- กราฟแท่งเทียนรูปแบบกระทิงโต้กลับ (Bullish Counterattack Line) และหมีโต้กลับ (Bearish Counterattack Line)
- กราฟแท่งเทียนรูปแบบยอดหอคอย หรือ Tower Top
- กราฟแท่งเทียนรูปแบบดาววีนัส (Evening Star) และดาวเมอคิวรี่ (Moming Star)
ขอบคุณที่มา : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=tunsystem&month=02-2010&date=21&group=1&gblog=5
0 Comments